เป็นองค์ประกอบสำคัญของกระดูกและฟันโดยร่างกายจะดูดซึมแคลเซียมเพื่อใช้ตามความจำเป็นแบบวันต่อวัน ซึ่งจะดูดซึมไปยังกระดูกและฟันโดยตรง เพื่อการเสริมสร้างและคงความแข็งแรง อีกส่วนจะดูดซึมไปใช้ประโยชน์ทั่วร่างกาย เช่น การหดรัดของกล้ามเนื้อ การส่งความรู้สึกไปตามเส้นประสาทต่างๆ การเก็บกักและการปลดปล่อยฮอร์โมน รวมถึงกระบวนการการทำงานของอวัยวะอื่นๆที่สำคัญอีกมากมาย  
เราต้องการแคลเซียมแค่ไหนต่อวัน ?
การดูดซึมและการสะสมแคลเซียม
การทานแคลเซียมแต่ละครั้งร่างกายดูดซึมไว้ได้เพียง 20-40% จากปริมาณที่ทานเข้าไป จากการศึกษาพบว่า การสะสมแคลเซียมเริ่มตั้งแต่เป็นทารกในครรภ์มารดา และลดลงไปตามวัยที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งพบว่า หลังจากอายุ 30 ปี ร่างกายจะไม่สามารถสะสมแคลเซียมในกระดูกได้อีกต่อไป
แคลเซียมกับวิตามินแร่ธาตุต่างๆ
แมกนีเซียม แคลเซียมและแมกนีเซียม ต้องทำหน้าที่ร่วมกันอย่างแยกจากกันไม่ได้ ซึ่งแมกนีเซียมจะช่วยในเรื่องของการดูดซึมแคลเซียม เพื่อการสร้างเสริมความแข็งแรงให้กับกระดูก
วิตามินดี เป็นตัวช่วยดูดซึมแคลเซียมเข้าสู่ร่างกาย โดยเร่งการขนส่งแคลเซียมผ่านผนังลำไส้เข้าสู่กระแสเลือด หากแคลเซียมในเลือดต่ำ วิตามินดีจะไปทำปฏิกิริยาที่ไตเพื่อลดการขับถ่ายแคลเซียมออกทางปัสสาวะ เพื่อคงปริมาณแคลเซียมให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
วิตามินซี เป็นตัวช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดซึมแคลเซียม เพราะวิตามินซีมีสภาวะเป็นกรดซึ่งเป็นสภาวะที่ดูดซึมแคลเซียมได้ดี
แมกนีเซียมและวิตามิน ดี แมกนีเซียมช่วยสร้างวิตามินดีในรูปแบบที่ร่างกายนำไปใช้ประโยชน์ เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงและเพิ่มความหนาแน่นให้กับกระดูกและฟัน ซึ่งถือเป็นการชะลอระยะเวลาในการเสื่อมของกระดูกและฟันได้
 โรคที่เกิดจากการขาดแคลเซียม
ผู้ที่เสี่ยงต่อการขาดแคลเซียม
1.วัยผู้ใหญ่ (26 – 50 ปี) เมื่ออายุ 30 ปี การสะสมแคลเซียมในร่างกายจะหมดไป ขณะที่การสลายตัวของกระดูกกลับเพิ่มสูงขึ้นตามอายุ โดยเฉพาะเพศหญิง พบว่าเริ่มเกิดปัญหาโรคกระดูกตั้งแต่อายุ 40 ซึ่งเร็วกว่าเพศชายถึง 20 ปี เพราะการดูดซึมแคลเซียมได้น้อยกว่าเพศชาย ทำให้การสะสมแคลเซียมน้อยตามไปด้วย แคลเซียมที่สะสมอยู่ในกระดูกจึงถูกดึงออกมาใช้ จนเกิดปัญหาโรคกระดูกสูงกว่าเพศชาย
2.วัยสูงอายุ (51 ปีขึ้นไป) เป็นวัยที่ประสิทธิภาพการดูดซึมแคลเซียมต่ำ ทำให้มีโอกาสสูญเสียแคลเซียมออกจากกระดูก โดยเฉพาะหญิงวัยหมดประจำเดือน เพราะฮอร์โมนเอสโตรเจนและการสร้างวิตามินดีลดลง บางรายอาจกระดูกหักได้เพราะแบกรับน้ำหนักตัวไม่ไหว โดยเฉพาะ กระดูกสันหลัง กระดูกต้นขาและแขน โดยโรคดังกล่าวจะไม่แสดงอาการใดๆเลย จนกว่าจะมีอาการกระดูกหัก
3.สตรีมีครรภ์/สตรีให้นมบุตร แม่จะต้องถ่ายทอดแคลเซียมสู่ลูก เพื่อการพัฒนาโครงสร้างร่างกายของทารกในครรภ์ การได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอจะเกิดผลเสียทั้งแม่และลูก เช่น แม่มักจะมีอาการปวดกล้ามเนื้อโดยเฉพาะน่อง, ปวดเหงือกและฟัน จากการศึกษาพบว่า สตรีมีครรภ์เป็นตะคริวถึง 26.8% มักเริ่มมีอาการตั้งแต่อายุครรภ์ได้ 25 สัปดาห์
4.ผู้ที่สูบบุหรี่/ดื่มแอลกอฮอล์ ชา กาแฟ เพราะสารนิโคติน, แอลกอฮอล์, คาเฟอีน จะกระตุ้นให้เกิดการหลั่ง Adrenaline ซึ่งทำให้เกิดการย่อยสลายกระดูกมากขึ้น
5.ผู้ที่ผอมบางกระดูกเล็ก มักจะมีการสะสมแคลเซียมในกระดูกไว้ในปริมาณน้อย
6.ผู้ที่ทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ หรือนักมังสวิรัติ ทำให้โอกาสได้รับแคลเซียมที่เพียงพอต่อวันมีน้อย
7.ผู้ที่แพ้นม เพราะนมเป็นแหล่งที่อุดมไปด้วยแคลเซียม
8.ผู้ที่มีปัญหาต่อมไร้ท่อ ทำให้มีการดึงแคลเซียมออกจากกระดูกมากกว่าคนปกติ
9.ผู้ที่มีประวัติครอบครัวเป็นโรคกระดูกพรุน

เราต้องการแคลเซียมแค่ไหนต่อวัน ?

การดูดซึมและการสะสมแคลเซียม

การทานแคลเซียมแต่ละครั้งร่างกายดูดซึมไว้ได้เพียง 20-40% จากปริมาณที่ทานเข้าไป จากการศึกษาพบว่า การสะสมแคลเซียมเริ่มตั้งแต่เป็นทารกในครรภ์มารดา และลดลงไปตามวัยที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งพบว่า หลังจากอายุ 30 ปี ร่างกายจะไม่สามารถสะสมแคลเซียมในกระดูกได้อีกต่อไป

แคลเซียมกับวิตามินแร่ธาตุต่างๆ

แมกนีเซียม แคลเซียมและแมกนีเซียม ต้องทำหน้าที่ร่วมกันอย่างแยกจากกันไม่ได้ ซึ่งแมกนีเซียมจะช่วยในเรื่องของการดูดซึมแคลเซียม เพื่อการสร้างเสริมความแข็งแรงให้กับกระดูก
วิตามินดี เป็นตัวช่วยดูดซึมแคลเซียมเข้าสู่ร่างกาย โดยเร่งการขนส่งแคลเซียมผ่านผนังลำไส้เข้าสู่กระแสเลือด หากแคลเซียมในเลือดต่ำ วิตามินดีจะไปทำปฏิกิริยาที่ไตเพื่อลดการขับถ่ายแคลเซียมออกทางปัสสาวะ เพื่อคงปริมาณแคลเซียมให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
วิตามินซี เป็นตัวช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดซึมแคลเซียม เพราะวิตามินซีมีสภาวะเป็นกรดซึ่งเป็นสภาวะที่ดูดซึมแคลเซียมได้ดี
แมกนีเซียมและวิตามิน ดี แมกนีเซียมช่วยสร้างวิตามินดีในรูปแบบที่ร่างกายนำไปใช้ประโยชน์ เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงและเพิ่มความหนาแน่นให้กับกระดูกและฟัน ซึ่งถือเป็นการชะลอระยะเวลาในการเสื่อมของกระดูกและฟันได้

 โรคที่เกิดจากการขาดแคลเซียม

ผู้ที่เสี่ยงต่อการขาดแคลเซียม

1.วัยผู้ใหญ่ (26 – 50 ปี) เมื่ออายุ 30 ปี การสะสมแคลเซียมในร่างกายจะหมดไป ขณะที่การสลายตัวของกระดูกกลับเพิ่มสูงขึ้นตามอายุ โดยเฉพาะเพศหญิง พบว่าเริ่มเกิดปัญหาโรคกระดูกตั้งแต่อายุ 40 ซึ่งเร็วกว่าเพศชายถึง 20 ปี เพราะการดูดซึมแคลเซียมได้น้อยกว่าเพศชาย ทำให้การสะสมแคลเซียมน้อยตามไปด้วย แคลเซียมที่สะสมอยู่ในกระดูกจึงถูกดึงออกมาใช้ จนเกิดปัญหาโรคกระดูกสูงกว่าเพศชาย
2.วัยสูงอายุ (51 ปีขึ้นไป) เป็นวัยที่ประสิทธิภาพการดูดซึมแคลเซียมต่ำ ทำให้มีโอกาสสูญเสียแคลเซียมออกจากกระดูก โดยเฉพาะหญิงวัยหมดประจำเดือน เพราะฮอร์โมนเอสโตรเจนและการสร้างวิตามินดีลดลง บางรายอาจกระดูกหักได้เพราะแบกรับน้ำหนักตัวไม่ไหว โดยเฉพาะ กระดูกสันหลัง กระดูกต้นขาและแขน โดยโรคดังกล่าวจะไม่แสดงอาการใดๆเลย จนกว่าจะมีอาการกระดูกหัก
3.สตรีมีครรภ์/สตรีให้นมบุตร แม่จะต้องถ่ายทอดแคลเซียมสู่ลูก เพื่อการพัฒนาโครงสร้างร่างกายของทารกในครรภ์ การได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอจะเกิดผลเสียทั้งแม่และลูก เช่น แม่มักจะมีอาการปวดกล้ามเนื้อโดยเฉพาะน่อง, ปวดเหงือกและฟัน จากการศึกษาพบว่า สตรีมีครรภ์เป็นตะคริวถึง 26.8% มักเริ่มมีอาการตั้งแต่อายุครรภ์ได้ 25 สัปดาห์
4.ผู้ที่สูบบุหรี่/ดื่มแอลกอฮอล์ ชา กาแฟ เพราะสารนิโคติน, แอลกอฮอล์, คาเฟอีน จะกระตุ้นให้เกิดการหลั่ง Adrenaline ซึ่งทำให้เกิดการย่อยสลายกระดูกมากขึ้น
5.ผู้ที่ผอมบางกระดูกเล็ก มักจะมีการสะสมแคลเซียมในกระดูกไว้ในปริมาณน้อย
6.ผู้ที่ทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ หรือนักมังสวิรัติ ทำให้โอกาสได้รับแคลเซียมที่เพียงพอต่อวันมีน้อย
7.ผู้ที่แพ้นม เพราะนมเป็นแหล่งที่อุดมไปด้วยแคลเซียม
8.ผู้ที่มีปัญหาต่อมไร้ท่อ ทำให้มีการดึงแคลเซียมออกจากกระดูกมากกว่าคนปกติ
9.ผู้ที่มีประวัติครอบครัวเป็นโรคกระดูกพรุน

 

เราต้องการแคลเซียมแค่ไหนต่อวัน ?

 

การดูดซึมและการสะสมแคลเซียม

การทานแคลเซียมแต่ละครั้งร่างกายดูดซึมไว้ได้เพียง 20-40% จากปริมาณที่ทานเข้าไป จากการศึกษาพบว่า การสะสมแคลเซียมเริ่มตั้งแต่เป็นทารกในครรภ์มารดา และลดลงไปตามวัยที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งพบว่า หลังจากอายุ 30 ปี ร่างกายจะไม่สามารถสะสมแคลเซียมในกระดูกได้อีกต่อไป

 

แคลเซียมกับวิตามินแร่ธาตุต่างๆ

แมกนีเซียม แคลเซียมและแมกนีเซียม ต้องทำหน้าที่ร่วมกันอย่างแยกจากกันไม่ได้ ซึ่งแมกนีเซียมจะช่วยในเรื่องของการดูดซึมแคลเซียม เพื่อการสร้างเสริมความแข็งแรงให้กับกระดูก

วิตามินดี เป็นตัวช่วยดูดซึมแคลเซียมเข้าสู่ร่างกาย โดยเร่งการขนส่งแคลเซียมผ่านผนังลำไส้เข้าสู่กระแสเลือด หากแคลเซียมในเลือดต่ำ วิตามินดีจะไปทำปฏิกิริยาที่ไตเพื่อลดการขับถ่ายแคลเซียมออกทางปัสสาวะ เพื่อคงปริมาณแคลเซียมให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย

วิตามินซี เป็นตัวช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดซึมแคลเซียม เพราะวิตามินซีมีสภาวะเป็นกรดซึ่งเป็นสภาวะที่ดูดซึมแคลเซียมได้ดี

แมกนีเซียมและวิตามิน ดี แมกนีเซียมช่วยสร้างวิตามินดีในรูปแบบที่ร่างกายนำไปใช้ประโยชน์ เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงและเพิ่มความหนาแน่นให้กับกระดูกและฟัน ซึ่งถือเป็นการชะลอระยะเวลาในการเสื่อมของกระดูกและฟันได้

 

 โรคที่เกิดจากการขาดแคลเซียม

ผู้ที่เสี่ยงต่อการขาดแคลเซียม

1.วัยผู้ใหญ่ (26 – 50 ปี) เมื่ออายุ 30 ปี การสะสมแคลเซียมในร่างกายจะหมดไป ขณะที่การสลายตัวของกระดูกกลับเพิ่มสูงขึ้นตามอายุ โดยเฉพาะเพศหญิง พบว่าเริ่มเกิดปัญหาโรคกระดูกตั้งแต่อายุ 40 ซึ่งเร็วกว่าเพศชายถึง 20 ปี เพราะการดูดซึมแคลเซียมได้น้อยกว่าเพศชาย ทำให้การสะสมแคลเซียมน้อยตามไปด้วย แคลเซียมที่สะสมอยู่ในกระดูกจึงถูกดึงออกมาใช้ จนเกิดปัญหาโรคกระดูกสูงกว่าเพศชาย

2.วัยสูงอายุ (51 ปีขึ้นไป) เป็นวัยที่ประสิทธิภาพการดูดซึมแคลเซียมต่ำ ทำให้มีโอกาสสูญเสียแคลเซียมออกจากกระดูก โดยเฉพาะหญิงวัยหมดประจำเดือน เพราะฮอร์โมนเอสโตรเจนและการสร้างวิตามินดีลดลง บางรายอาจกระดูกหักได้เพราะแบกรับน้ำหนักตัวไม่ไหว โดยเฉพาะ กระดูกสันหลัง กระดูกต้นขาและแขน โดยโรคดังกล่าวจะไม่แสดงอาการใดๆเลย จนกว่าจะมีอาการกระดูกหัก

3.สตรีมีครรภ์/สตรีให้นมบุตร แม่จะต้องถ่ายทอดแคลเซียมสู่ลูก เพื่อการพัฒนาโครงสร้างร่างกายของทารกในครรภ์ การได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอจะเกิดผลเสียทั้งแม่และลูก เช่น แม่มักจะมีอาการปวดกล้ามเนื้อโดยเฉพาะน่อง, ปวดเหงือกและฟัน จากการศึกษาพบว่า สตรีมีครรภ์เป็นตะคริวถึง 26.8% มักเริ่มมีอาการตั้งแต่อายุครรภ์ได้ 25 สัปดาห์

4.ผู้ที่สูบบุหรี่/ดื่มแอลกอฮอล์ ชา กาแฟ เพราะสารนิโคติน, แอลกอฮอล์, คาเฟอีน จะกระตุ้นให้เกิดการหลั่ง Adrenaline ซึ่งทำให้เกิดการย่อยสลายกระดูกมากขึ้น

5.ผู้ที่ผอมบางกระดูกเล็ก มักจะมีการสะสมแคลเซียมในกระดูกไว้ในปริมาณน้อย

6.ผู้ที่ทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ หรือนักมังสวิรัติ ทำให้โอกาสได้รับแคลเซียมที่เพียงพอต่อวันมีน้อย

7.ผู้ที่แพ้นม เพราะนมเป็นแหล่งที่อุดมไปด้วยแคลเซียม

8.ผู้ที่มีปัญหาต่อมไร้ท่อ ทำให้มีการดึงแคลเซียมออกจากกระดูกมากกว่าคนปกติ

9.ผู้ที่มีประวัติครอบครัวเป็นโรคกระดูกพรุน